ความหมายของ Social Network
Social Network คือ สังคมออนไลน์ที่จะช่วยให้คุณหาเพื่อนบนโลกอินเตอร์เนทได้ง่ายๆ เราสามารถที่จะสร้างพื้นที่ส่วนตัวขึ้นมา เพื่อแนะนำตัวเองได้ เช่น
- Hi5
- Friendster
- My Space
- Face Book
- Orkut
- Bebo
- Tagged
Social Network คือสังคมออนไลน์นั่นเอง Social Network ยังเป็นการที่ผู้คนสามารถทำความรู้จัก และเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หากเป็นเว็บไซต์ที่เรียกว่าเป็น เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงผู้คนไว้ด้วยกันนั่นเอง
เว็บไซต์ Social Network เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นเว็บที่สร้างขึ้นมาเพื่อการตอบสนองความต้องการในการติดต่อธุรกิจหรือหาเพื่อนบนโลกไซเบอร์ทั้งสิ้น ดังที่พบได้ในปัจจุบัน ซึ่งมีความนิยมเป็นอย่างมากในโลกของอินเทอร์เน็ต ถัดไปเราจะมาทำความรู้จักเว็บไซต์ Social Network ของแต่ละบริษัทที่ได้รับความนิยมจากทั่วทุกมุมโลกรวมถึงในประเทศไทย
ตัวอย่าง Social network ที่ใช้ในปัจจุบันและการใช้งานในแต่ละแบบ
เว็บ Hi5 เป็นเว็บที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในเอเชีย โดยเฉพาะประเทศไทย ที่มีผู้ใช้บริการกว่า 7 แสนคนสำหรับหลายคนที่รู้จักและใช้บริการอยู่คงจะไม่ต้องอธิบายกันมาก เพราะคงรู้จุดประสงค์และการใช้งานดีอยู่แล้ว แต่หลายๆคนยังไม่ทราบว่าเจ้า hi5 นี่ใช้งานยังไง มีทำไม และเพื่อประโยชน์อะไร
Hi5.com เป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้บริการมาฝาก profile ของตัวเอง คล้ายๆกับ blog เนี่ยแหละ แต่ว่าคนไม่ค่อยไปเขียนอะไรเป็นเรื่องเป็นราวในนั้นซะเท่าไหร่ จะเน้นที่ตกแต่งหน้าตา profile เราให้สวยงาม ดึงดูดคนมาเข้า แต่จุดเด่นของมันอยู่ที่ ระบบ network ที่เรามีโอกาสได้ทำความรู้จักกับคนใหม่ๆ หรือบังเอิญเจอเพื่อนเก่าสมัยมัธยมเมื่อหลายสิบปีก่อน หรือเพื่อนของเพื่อน กิ้กเก่า แฟนเก่า .. แต่อีกหลายคนก็สมัครไปงั้นๆไม่ได้อะไรมากเพราะได้รับอีเมลชวนมาเล่น hi5 จากเพื่อน ...
Hi5.com เป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้บริการมาฝาก profile ของตัวเอง คล้ายๆกับ blog เนี่ยแหละ แต่ว่าคนไม่ค่อยไปเขียนอะไรเป็นเรื่องเป็นราวในนั้นซะเท่าไหร่ จะเน้นที่ตกแต่งหน้าตา profile เราให้สวยงาม ดึงดูดคนมาเข้า แต่จุดเด่นของมันอยู่ที่ ระบบ network ที่เรามีโอกาสได้ทำความรู้จักกับคนใหม่ๆ หรือบังเอิญเจอเพื่อนเก่าสมัยมัธยมเมื่อหลายสิบปีก่อน หรือเพื่อนของเพื่อน กิ้กเก่า แฟนเก่า .. แต่อีกหลายคนก็สมัครไปงั้นๆไม่ได้อะไรมากเพราะได้รับอีเมลชวนมาเล่น hi5 จากเพื่อน ...
ข้อดี
1.) มีโอกาสได้เพื่อนใหม่ๆและ keep connect กับเพื่อนเก่าๆ ที่บางคนอาจจะเลือนหายไปกับความทรงจำ (แต่พอส่ง msg คุยกันก็ไม่รู้จะคุยไร เพราะมันห่างกันมานาน)
2.) การเก็บรักษาความส่วนตัว ก็ใช้ได้ระดับหนึ่ง คือ ยังไงๆถ้าเราไม่บอก ไม่ว่าใครก็ไม่รู้อีเมลเรา แต่ถ้าอยากให้รู้ก็เขียนบอกไปเลยก็ได้ หรืออยากรู้ msn ใครก็แมสเสจไปหาเขาตรงๆ
3.) วิธีการสมัครง่าย และวิธีการทำ hi5 ให้สวยงามก็ง่าย
4. )ข้อดีก็เหมือน blog ทั่วไปๆแหละเพียงแต่คนเล่นนิยม เพราะมันดูทันสมัยและใช้งานง่าย
ข้อเสีย
1.) มีการพัฒนาเวบ อาจจะล่มบางครั้ง
2. )ใส่ลูกเล่นหรือปรับแต่งอะไรได้ไม่ค่อยเยอะ มันจะมี pattern อยู่แล้ว ก็จะปรับได้ส่วนของแบคกราวน์ สี font ตัวอักษร ใส่เพลง vdoclip
3.) ไม่มีประโยชน์เท่าบล้อก เพราะคนเข้ามาดูรูปส่วนใหญ่
Friendster (www.friendster.com)
Friendster ได้ก้าวขึ้นมาสู่หัวแถวของ Social Network ในประมาณเดือนเมษายน ปี 2004 ก่อนจะถูกไล่แซงโดย My Space ในเรื่องของผู้เข้าชมและจากการจัดอันดับของ Nielsen//NetRatings Frienster ได้รับการยอมรับว่าเป็นคู่แข่งของทั้ง Windows Live Spaces, Yahoo! 360, และ Facebook ในเวลาต่อมาก็ยังมี Hi5 ก้าวเข้ามาเป็นคู่แข่งสำคัญอีกด้วย
1.) มีโอกาสได้เพื่อนใหม่ๆและ keep connect กับเพื่อนเก่าๆ ที่บางคนอาจจะเลือนหายไปกับความทรงจำ (แต่พอส่ง msg คุยกันก็ไม่รู้จะคุยไร เพราะมันห่างกันมานาน)
2.) การเก็บรักษาความส่วนตัว ก็ใช้ได้ระดับหนึ่ง คือ ยังไงๆถ้าเราไม่บอก ไม่ว่าใครก็ไม่รู้อีเมลเรา แต่ถ้าอยากให้รู้ก็เขียนบอกไปเลยก็ได้ หรืออยากรู้ msn ใครก็แมสเสจไปหาเขาตรงๆ
3.) วิธีการสมัครง่าย และวิธีการทำ hi5 ให้สวยงามก็ง่าย
4. )ข้อดีก็เหมือน blog ทั่วไปๆแหละเพียงแต่คนเล่นนิยม เพราะมันดูทันสมัยและใช้งานง่าย
ข้อเสีย
1.) มีการพัฒนาเวบ อาจจะล่มบางครั้ง
2. )ใส่ลูกเล่นหรือปรับแต่งอะไรได้ไม่ค่อยเยอะ มันจะมี pattern อยู่แล้ว ก็จะปรับได้ส่วนของแบคกราวน์ สี font ตัวอักษร ใส่เพลง vdoclip
3.) ไม่มีประโยชน์เท่าบล้อก เพราะคนเข้ามาดูรูปส่วนใหญ่
Friendster (www.friendster.com)
Friendster ได้ก้าวขึ้นมาสู่หัวแถวของ Social Network ในประมาณเดือนเมษายน ปี 2004 ก่อนจะถูกไล่แซงโดย My Space ในเรื่องของผู้เข้าชมและจากการจัดอันดับของ Nielsen//NetRatings Frienster ได้รับการยอมรับว่าเป็นคู่แข่งของทั้ง Windows Live Spaces, Yahoo! 360, และ Facebook ในเวลาต่อมาก็ยังมี Hi5 ก้าวเข้ามาเป็นคู่แข่งสำคัญอีกด้วย
Google เคยยื่นข้อเสนอขอซื้อ Friendster ในมูลค่า 30,000,000 $ แต่ถูกปฏิเสธ เพราะทาง Friendster ตัดสินใจว่าต้องการเป็นของส่วนตัวมากกว่าที่จะยื่นขายให้กับ Google
หลายท่านที่มีประสบการณ์การใช้งานคงจำได้นะครับ จู่ๆ เราก็ได้รับอีเมล์จากเพื่อนของเราบอกว่าเข้าไปสมัครบริการนี้สิ เราก็เข้าไป ลงทะเบียน ใส่ข้อมูลส่วนตัว เสร็จแล้วเราก็พบว่า เรามี “เพื่อน” อยู่ในระบบทันที 1 คน (คือคนที่ชวนเรามานั่นเอง) หลังจากนั้นก็เราก็ชักคิดถึงเพื่อนคนอื่นๆ ก็ค้นหาจากระบบดูว่ามีเพื่อนเราคงไหนอีกไหมที่ใช้เว็บนี้เหมือนๆ กัน ก็ไปชวนเข้ามาอยู่ในกลุ่มเพื่อนเรา ใครที่ไม่อยู่ เราก็ส่งอีเมล์ไปชวนให้มาเข้าระบบเสีย หลังจากนั้นเราก็อาจเริ่มรู้จักเพื่อนใหม่ๆ จากในระบบนี้เอง ทำให้เราถึงเสียเวลานั่งทำอะไรอย่างที่ว่าได้อย่างเพลิดเพลินและนั่นอาจเป็นเหตุผลว่าทำไม Friendster.com ถึงมีผู้ใช้งานกว่า 7 ล้านคนภายในปีเดียว
My Space (www.myspace.com)
My Space คือ เว็บบล็อก ที่ทาง msn ให้ผู้ที่ใช้ msn ได้เข้าไปใช้บริการกัน ก็มีคำถามต่ออีกว่า เจ้า webblog คืออะไร สำหรับ เจ้า Web Blog ผมอยากให้เรานึกง่ายๆ ว่ามัน คล้าย ไดอะรี่ แต่ไม่ใช่นะครับ ย้ำ ว่า บล็อก ไม่ใช่ ไดอะรี่ โดยบล็อกจะมีความหลากหลายมากกว่า เพราะในบล็อก ผู้ที่เป็นเจ้าของเนื้อที่นั้น จะเป็นผู้ที่ดูแลเนื้อหา ว่า จะให้เป็นแนวไหน หรือว่าจะเป็นเนื้อเรื่องอะไร ส่วนหลายคนเอามาเป็น ไดอะรี่ นั้น ผิดไหม คงไม่ผิด คือมันแล้วแต่ว่า ผู้ดูแลจะเป็นอย่างไร
ข้อดี
1. มีลูกเล่นค่อยข้างมากกว่าที่อื่นไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ Layout, Music ,Photo เป็นต้น รวมทั้ง
2. มีการแสดงให้เห็นใน Contact list ของ MSN อีกด้วย (เป็นรูปดาวๆหน้าชื่อนั่นล่ะครับ )
3. สามารถกำหนดสิทธิคนที่จะเข้าดูได้หลายระดับ
ข้อเสีย
1. เปิดดูได้ช้ามาก ยิ่งเน็ต 56K คงแทบหมดสิทธิ หากบล็อกมีลูกเล่นเยอะ
1.ยังไม่สามารถใส่พวก script แบบไดอารี่ หรือ บล็อกในหลายๆ ที่ได้ (อันนี้ไม่ค่อยสำคัญเท่าไหร่สำหรับผม)
3. การเลือกจำนวนของ Entry หรือบทความที่จะแสดงในหน้าแรกของบล้อก ได้ต่ำสุดที่ 5 ดังนั้นใครที่นิยมเขียนอะไรยาวๆ ทำใจได้เลยครับว่า หน้าแรกของบล็อก คุณจะยาวสุดกู่เลยล่ะครับ สุดท้ายคือ
4. ความสามารถ ในส่วนของการกำหนดขนาดตัวอักษร ซึ่งผม ยังหาไม่เจอว่า มีการให้ใส่หรือ เลือกขนาดตัวอักษรสำหรับบทความได้ในจุดไหน ซึ่งอันนี้ผมคิดว่ามีความสำคัญทีเดียว การเล่นตัวอักษร เล็กใหญ่ มันช่วยเน้นข้อความและทำให้อ่านได้ง่ายขึ้น สรุปใจความได้ง่ายขึ้น โดยไม่ต้องอ่านทั้งหมด ก็ได้ซึ่ง การเล่นสีและตัวหนา เพียงอย่างเดียว
มายสเปซ (MySpace) เป็นเว็บไซต์ในรูปแบบของเครือข่ายชุมชน ชื่อดังเว็บหนึ่ง ให้บริการทำเว็บส่วนตัว บล็อก การเก็บ ภาพ วิดีโอ ดนตรี และเชื่อมโยงเข้ากับกลุ่มคนอื่น มายสเปซมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ เบเวอร์ลีย์ฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
My Space คือ เว็บบล็อก ที่ทาง msn ให้ผู้ที่ใช้ msn ได้เข้าไปใช้บริการกัน ก็มีคำถามต่ออีกว่า เจ้า webblog คืออะไร สำหรับ เจ้า Web Blog ผมอยากให้เรานึกง่ายๆ ว่ามัน คล้าย ไดอะรี่ แต่ไม่ใช่นะครับ ย้ำ ว่า บล็อก ไม่ใช่ ไดอะรี่ โดยบล็อกจะมีความหลากหลายมากกว่า เพราะในบล็อก ผู้ที่เป็นเจ้าของเนื้อที่นั้น จะเป็นผู้ที่ดูแลเนื้อหา ว่า จะให้เป็นแนวไหน หรือว่าจะเป็นเนื้อเรื่องอะไร ส่วนหลายคนเอามาเป็น ไดอะรี่ นั้น ผิดไหม คงไม่ผิด คือมันแล้วแต่ว่า ผู้ดูแลจะเป็นอย่างไร
ข้อดี
1. มีลูกเล่นค่อยข้างมากกว่าที่อื่นไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ Layout, Music ,Photo เป็นต้น รวมทั้ง
2. มีการแสดงให้เห็นใน Contact list ของ MSN อีกด้วย (เป็นรูปดาวๆหน้าชื่อนั่นล่ะครับ )
3. สามารถกำหนดสิทธิคนที่จะเข้าดูได้หลายระดับ
ข้อเสีย
1. เปิดดูได้ช้ามาก ยิ่งเน็ต 56K คงแทบหมดสิทธิ หากบล็อกมีลูกเล่นเยอะ
1.ยังไม่สามารถใส่พวก script แบบไดอารี่ หรือ บล็อกในหลายๆ ที่ได้ (อันนี้ไม่ค่อยสำคัญเท่าไหร่สำหรับผม)
3. การเลือกจำนวนของ Entry หรือบทความที่จะแสดงในหน้าแรกของบล้อก ได้ต่ำสุดที่ 5 ดังนั้นใครที่นิยมเขียนอะไรยาวๆ ทำใจได้เลยครับว่า หน้าแรกของบล็อก คุณจะยาวสุดกู่เลยล่ะครับ สุดท้ายคือ
4. ความสามารถ ในส่วนของการกำหนดขนาดตัวอักษร ซึ่งผม ยังหาไม่เจอว่า มีการให้ใส่หรือ เลือกขนาดตัวอักษรสำหรับบทความได้ในจุดไหน ซึ่งอันนี้ผมคิดว่ามีความสำคัญทีเดียว การเล่นตัวอักษร เล็กใหญ่ มันช่วยเน้นข้อความและทำให้อ่านได้ง่ายขึ้น สรุปใจความได้ง่ายขึ้น โดยไม่ต้องอ่านทั้งหมด ก็ได้ซึ่ง การเล่นสีและตัวหนา เพียงอย่างเดียว
มายสเปซ (MySpace) เป็นเว็บไซต์ในรูปแบบของเครือข่ายชุมชน ชื่อดังเว็บหนึ่ง ให้บริการทำเว็บส่วนตัว บล็อก การเก็บ ภาพ วิดีโอ ดนตรี และเชื่อมโยงเข้ากับกลุ่มคนอื่น มายสเปซมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ เบเวอร์ลีย์ฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
มายสเปซก่อตั้งเมื่อ สิงหาคม พ.ศ. 2546 โดย ทอม แอนเดอร์สัน และ คริสโตเฟอร์ เดอโวล์ฟ ในปัจจุบัน มายสเปซมีพนักงานกว่า 300 คน และในตัวเว็บไซต์มีผู้ลงทะเบียนมากกว่า 100 ล้านคน และมีผู้ลงทะเบียนใหม่ประมาณ 200,000 คนต่อวัน
Face Book (www.facebook.com)
Mark Zuckerberg ก่อตั้ง Facebook เว็บชุมชนออนไลน์ (Social-Networking Site) ที่กำลังได้รับความนิยมสุดขีดในขณะนี้ เมื่อ 3 ปีก่อน ขณะยังเรียนอยู่ที่ Harvard ก่อนจะลาออกกลางคัน เจริญรอยตาม Bill Gates แห่ง Microsoft เพื่อเป็น CEO ของเว็บชุมชนออนไลน์ที่เขาก่อตั้งขึ้น ด้วยวัยเพียง 22 ปี
นอกจากนี้ยังได้รับการจัดอันดับเป็นเว็บที่ผู้ใช้ Upload รูปขึ้นไปเก็บไว้มากเป็นอันดับหนึ่งของสหรัฐฯ โดยมีจำนวนรูปที่ถูก Upload ขึ้นไปบนเว็บ 6 ล้านรูปต่อวัน และกำลังเริ่มจะเป็นคู่แข่งกับ Google และเว็บยักษ์ใหญ่อื่นๆ
Orkut (www.orkut.com)
เว็บไซต์หาเพื่อนสำหรับกลุ่มนักท่องเว็บขี้เหงานั้นครองความนิยมมายาวนาน จนเกิดเว็บไซต์ใหม่ขึ้นมามากมาย แม้เต่เจ้าพ่อเสิร์จเอนจินอย่างกูเกิล (Google) เองก็ไม่ยอมน้อยหน้า ก้าวเท้าเดินตามรอยเว็บไซต์ชื่อดังอย่าง Friendster เพื่อเข้าสู่วงการ social networking ด้วยการเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาโดยให้ทีมวิศวกรของกูเกิลทำเป็นโปรเจคของตัวเอง กูเกิลใช้กลยุทธโปรเจคส่วนตัวนี้เพื่อสร้างเว็บไซต์ใหม่ๆขึ้นมาได้อย่างชาญฉลาด โดยเว็บไซต์นี้ใช้ชื่อว่า Orkut.com เพื่อใช้เป็นเว็บไซต์เชื่อมต่อระหว่างเพื่อนถึงเพื่อน ให้คุณสามารถสร้างความสนิทสนมได้บนความสะดวกสบาย
การเป็น social networking นั้นอาจจะเรียกได้ว่า เป็นเน็ตเวิร์กกระชับมิตร เพราะด้วยความที่ให้บริการเป็นชุมชนออนไลน์ ยูสเซอร์อาจจะใช้เครือข่ายนี้เป็นตัวเชื่อมต่อเพื่อพูดคุยกับเพื่อนฝูง หรืออาจจะหาเพื่อนใหม่เพื่อนัดเดท ซึ่งไม่ต่างอะไรจากเว็บไซต์หาเพื่อน ที่เคยฮอตฮิตในเมืองไทยบ้านเราอยู่พักใหญ่ เว็บไซต์ที่เข้าข่าย social networking นี้ จะเปิดให้ยูสเซอร์ตั้งชื่อ และเลือกชุมชนที่ต้องการ โดยจะสามารถโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่บนเครือข่ายได้อย่างง่ายดาย แต่ในบางประเทศก็มีการนำเอา social networking นี้มาใช้ในการพัฒนาชุมชน โดยใช้เครือข่ายเป็นเครื่องมือในการเชื่อมต่อประชาชนในชุมชนกับกลุ่มองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้ประชาชนในชุมชน สามารถถ่ายทอดปัญหาและความต้องการได้โดยตรง จุดนี้เป็นประโยชน์อย่างมากในด้านการแสดงความคิดเห็น การเฝ้าระวังข้อมูล การมีส่วนร่วม การสะท้อนมุมมอง และการระดมทุน
การเข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ Orkut.com จะต้องได้รับเชิญจากคนที่เป็นสมาชิกอยู่ก่อนเท่านั้น ซึ่งในขณะนี้มีสมาชิกนับพันกว่าคนแล้ว สมาชิกส่วนใหญ่เป็นพนักงานของกูเกิลแทบทั้งนั้น หน้าตาอินเตอร์เฟสของ Orkut.com นี้มีลักษณะคล้ายกับเว็บไซต์ social networking ทั่วๆไปอย่างเช่น Friendster, Tribe.net เว็บไซต์กระชับมิตรเหล่านี้เป็นที่จับตามองอย่างมากในปีที่ผ่านมา
ชื่อเรียก Orkut นั้นมาจากชื่อผู้สร้างคือ Orkut Buyukkokten (ออกัต บายุกอกเท็น) ซึ่งเป็นวิศวกรของกูเกิลที่สนใจเรื่องของชุมชนออนไลน์ กูเกิลสนับสนุนการสร้าง Orkut.com ด้วยการให้วิศวกรสามารถใช้เวลาหนึ่งวันต่อสัปดาห์เพื่อทำโปรเจคส่วนตัวของแต่ละคนในเวลางาน Eileen Rodriguez (ไอลีน โรดริกูเอซ์) ประชาสัมพันธ์ของกูเกิลกล่าวอีกด้วยว่า หากโปรเจคไหนน่าสนใจก็จะได้รับพิจารณาเป็นพิเศษ โดยการทดลองออนไลน์จริงเพื่อดูผลตอบรับจากบรรดานักท่องเน็ต
โปรเจคส่วนตัวแแบบนี้ ทำให้เกิดบริการใหม่ๆที่เป็นประโบชน์เพิ่มขึ้นอีกมากมาย อย่างเช่น บริการ 2 บริการในเครือของกูเกิลที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ กูเกิล นิวส์ (Google News) และ ฟลอกเกอร์ (Froogle) ทั้ง 2 บริการนี้เป็นบริการเบต้าเวอร์ชั่น คำว่าเบต้าเวอร์ชั่นนั้น คือการอยู่ในระหว่างการทดลองใช้ โดยกูเกิล นิวส์นั้นเป็นเว็บไซต์บริการข่าวจากกูเกิล ส่วนฟลอกเกอร์ เป็นเว็บไซต์ช่วยเสิร์จสินค้าในแคตตาล็อก
Bebo (www.bebo.com)
Bebo เป็นเครือข่ายทางสังคมแห่งยุคอนาคตที่ทำให้นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับเพื่อน หาเพื่อนที่ขาดการติดต่อกันไปนาน และพบปะกับผู้คนใหม่ๆ หลังจากเปิดตัวอย่างเป็นทางการในเดือนก.ค.ปีที่แล้ว ในเวลาแค่ 7 เดือน เครือข่ายทางสังคมแห่งนี้ก็มีสมาชิกจดทะเบียนมากกว่า 22 ล้านรายที่เข้ามาดูหน้าเว็บเพจถึงกว่า 700 ครั้งต่อเดือน Bebo เป็นบริษัทเอกชนที่บริหารงานโดยทีมบริหารที่มีประสบการณ์ในเมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยซีอีโอและผู้ก่อตั้งบริษัทได้เปิดตัวเว็บไซท์เครือ ข่ายสังคมลำดับแรกๆคือ Ringo.com ซึ่งต่อมาเขาได้ขายเว็บดังกล่าวให้แก่ Tickle (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Monster ในปัจจุบัน) และล่าสุด อดีตประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจจาก Friendster ได้เข้ามาร่วมงานกับ Bebo นอกจากนี้ ทีมงานของ Bebo.com ยังเปิดเว็บไซท์อีกเว็บที่ใช้กลยุทธ์การตลาดแบบปากต่อปาก (word of mouth) นั่นคือ BirthdayAlarm.com ซึ่งมีสมาชิก 40 ล้านคน
Bebo เป็น Social Network ที่ถูกออกแบบมาดี โทนสีของเว็บไซต์ดูแล้วสบายตา ใช้งานง่าย มีการจัดระบบติดต่อผู้ใช้ได้ดี คนที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้แบบไม่ติดขัด รูปร่างหน้าตาของบล็อกดูไม่รกหูรกตา รองรับการปรับแต่งได้หลากหลาย
Mark Zuckerberg ก่อตั้ง Facebook เว็บชุมชนออนไลน์ (Social-Networking Site) ที่กำลังได้รับความนิยมสุดขีดในขณะนี้ เมื่อ 3 ปีก่อน ขณะยังเรียนอยู่ที่ Harvard ก่อนจะลาออกกลางคัน เจริญรอยตาม Bill Gates แห่ง Microsoft เพื่อเป็น CEO ของเว็บชุมชนออนไลน์ที่เขาก่อตั้งขึ้น ด้วยวัยเพียง 22 ปี
Mark Zuckerberg ผู้ก่อตั้ง Facebook เว็บ Social Network อันโด่งดัง
ภายในเวลาเพียง 3 ปี เว็บที่เริ่มต้นจากการเป็นเว็บชุมชนออนไลน์สำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย กลายเป็นเว็บที่มีผู้ใช้ที่ลงทะเบียน 19 ล้านคน ซึ่งรวมถึงข้าราชการในหน่วยงานรัฐบาล และพนักงานบริษัทที่ติดอันดับ Fortune 500 มากกว่าครึ่งหนึ่งของผู้ใช้ เข้าเว็บนี้เป็นประจำทุกวัน และขณะนี้กลายเป็นเว็บที่มีผู้เข้าชมมากเป็นอันดับ 6 ในสหรัฐ 1% ของเวลาทั้งหมดที่ใช้บน Internet ถูกใช้ในเว็บ Facebookนอกจากนี้ยังได้รับการจัดอันดับเป็นเว็บที่ผู้ใช้ Upload รูปขึ้นไปเก็บไว้มากเป็นอันดับหนึ่งของสหรัฐฯ โดยมีจำนวนรูปที่ถูก Upload ขึ้นไปบนเว็บ 6 ล้านรูปต่อวัน และกำลังเริ่มจะเป็นคู่แข่งกับ Google และเว็บยักษ์ใหญ่อื่นๆ
Orkut (www.orkut.com)
เว็บไซต์หาเพื่อนสำหรับกลุ่มนักท่องเว็บขี้เหงานั้นครองความนิยมมายาวนาน จนเกิดเว็บไซต์ใหม่ขึ้นมามากมาย แม้เต่เจ้าพ่อเสิร์จเอนจินอย่างกูเกิล (Google) เองก็ไม่ยอมน้อยหน้า ก้าวเท้าเดินตามรอยเว็บไซต์ชื่อดังอย่าง Friendster เพื่อเข้าสู่วงการ social networking ด้วยการเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาโดยให้ทีมวิศวกรของกูเกิลทำเป็นโปรเจคของตัวเอง กูเกิลใช้กลยุทธโปรเจคส่วนตัวนี้เพื่อสร้างเว็บไซต์ใหม่ๆขึ้นมาได้อย่างชาญฉลาด โดยเว็บไซต์นี้ใช้ชื่อว่า Orkut.com เพื่อใช้เป็นเว็บไซต์เชื่อมต่อระหว่างเพื่อนถึงเพื่อน ให้คุณสามารถสร้างความสนิทสนมได้บนความสะดวกสบาย
การเป็น social networking นั้นอาจจะเรียกได้ว่า เป็นเน็ตเวิร์กกระชับมิตร เพราะด้วยความที่ให้บริการเป็นชุมชนออนไลน์ ยูสเซอร์อาจจะใช้เครือข่ายนี้เป็นตัวเชื่อมต่อเพื่อพูดคุยกับเพื่อนฝูง หรืออาจจะหาเพื่อนใหม่เพื่อนัดเดท ซึ่งไม่ต่างอะไรจากเว็บไซต์หาเพื่อน ที่เคยฮอตฮิตในเมืองไทยบ้านเราอยู่พักใหญ่ เว็บไซต์ที่เข้าข่าย social networking นี้ จะเปิดให้ยูสเซอร์ตั้งชื่อ และเลือกชุมชนที่ต้องการ โดยจะสามารถโต้ตอบกับผู้คนที่อยู่บนเครือข่ายได้อย่างง่ายดาย แต่ในบางประเทศก็มีการนำเอา social networking นี้มาใช้ในการพัฒนาชุมชน โดยใช้เครือข่ายเป็นเครื่องมือในการเชื่อมต่อประชาชนในชุมชนกับกลุ่มองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้ประชาชนในชุมชน สามารถถ่ายทอดปัญหาและความต้องการได้โดยตรง จุดนี้เป็นประโยชน์อย่างมากในด้านการแสดงความคิดเห็น การเฝ้าระวังข้อมูล การมีส่วนร่วม การสะท้อนมุมมอง และการระดมทุน
การเข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ Orkut.com จะต้องได้รับเชิญจากคนที่เป็นสมาชิกอยู่ก่อนเท่านั้น ซึ่งในขณะนี้มีสมาชิกนับพันกว่าคนแล้ว สมาชิกส่วนใหญ่เป็นพนักงานของกูเกิลแทบทั้งนั้น หน้าตาอินเตอร์เฟสของ Orkut.com นี้มีลักษณะคล้ายกับเว็บไซต์ social networking ทั่วๆไปอย่างเช่น Friendster, Tribe.net เว็บไซต์กระชับมิตรเหล่านี้เป็นที่จับตามองอย่างมากในปีที่ผ่านมา
ชื่อเรียก Orkut นั้นมาจากชื่อผู้สร้างคือ Orkut Buyukkokten (ออกัต บายุกอกเท็น) ซึ่งเป็นวิศวกรของกูเกิลที่สนใจเรื่องของชุมชนออนไลน์ กูเกิลสนับสนุนการสร้าง Orkut.com ด้วยการให้วิศวกรสามารถใช้เวลาหนึ่งวันต่อสัปดาห์เพื่อทำโปรเจคส่วนตัวของแต่ละคนในเวลางาน Eileen Rodriguez (ไอลีน โรดริกูเอซ์) ประชาสัมพันธ์ของกูเกิลกล่าวอีกด้วยว่า หากโปรเจคไหนน่าสนใจก็จะได้รับพิจารณาเป็นพิเศษ โดยการทดลองออนไลน์จริงเพื่อดูผลตอบรับจากบรรดานักท่องเน็ต
โปรเจคส่วนตัวแแบบนี้ ทำให้เกิดบริการใหม่ๆที่เป็นประโบชน์เพิ่มขึ้นอีกมากมาย อย่างเช่น บริการ 2 บริการในเครือของกูเกิลที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ กูเกิล นิวส์ (Google News) และ ฟลอกเกอร์ (Froogle) ทั้ง 2 บริการนี้เป็นบริการเบต้าเวอร์ชั่น คำว่าเบต้าเวอร์ชั่นนั้น คือการอยู่ในระหว่างการทดลองใช้ โดยกูเกิล นิวส์นั้นเป็นเว็บไซต์บริการข่าวจากกูเกิล ส่วนฟลอกเกอร์ เป็นเว็บไซต์ช่วยเสิร์จสินค้าในแคตตาล็อก
Bebo (www.bebo.com)
Bebo เป็นเครือข่ายทางสังคมแห่งยุคอนาคตที่ทำให้นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาและมหาวิทยาลัยสามารถติดต่อกับเพื่อน หาเพื่อนที่ขาดการติดต่อกันไปนาน และพบปะกับผู้คนใหม่ๆ หลังจากเปิดตัวอย่างเป็นทางการในเดือนก.ค.ปีที่แล้ว ในเวลาแค่ 7 เดือน เครือข่ายทางสังคมแห่งนี้ก็มีสมาชิกจดทะเบียนมากกว่า 22 ล้านรายที่เข้ามาดูหน้าเว็บเพจถึงกว่า 700 ครั้งต่อเดือน Bebo เป็นบริษัทเอกชนที่บริหารงานโดยทีมบริหารที่มีประสบการณ์ในเมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยซีอีโอและผู้ก่อตั้งบริษัทได้เปิดตัวเว็บไซท์เครือ ข่ายสังคมลำดับแรกๆคือ Ringo.com ซึ่งต่อมาเขาได้ขายเว็บดังกล่าวให้แก่ Tickle (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Monster ในปัจจุบัน) และล่าสุด อดีตประธานฝ่ายพัฒนาธุรกิจจาก Friendster ได้เข้ามาร่วมงานกับ Bebo นอกจากนี้ ทีมงานของ Bebo.com ยังเปิดเว็บไซท์อีกเว็บที่ใช้กลยุทธ์การตลาดแบบปากต่อปาก (word of mouth) นั่นคือ BirthdayAlarm.com ซึ่งมีสมาชิก 40 ล้านคน
Bebo เป็น Social Network ที่ถูกออกแบบมาดี โทนสีของเว็บไซต์ดูแล้วสบายตา ใช้งานง่าย มีการจัดระบบติดต่อผู้ใช้ได้ดี คนที่ไม่มีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้แบบไม่ติดขัด รูปร่างหน้าตาของบล็อกดูไม่รกหูรกตา รองรับการปรับแต่งได้หลากหลาย
Twitter (www.twitter.com)
ทวิตเตอร์(Twitter) เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์จำพวกไมโครบล็อก โดยผู้ใช้สามารถส่งข้อความยาวไม่เกิน 140 ตัวอักษร ว่าตัวเองกำลังทำอะไรอยู่ หรือ ทำการทวีต (tweet - ส่งเสียงนกร้อง) ทวิตเตอร์ก่อตั้งโดยบริษัท Obvious Corp เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2006 ที่ซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ข้อความอัปเดตที่ส่งเข้าไปยังทวิตเตอร์จะแสดงอยู่บนเว็บเพจของผู้ใช้คนนั้นบนเว็บไซต์ และผู้ใช้คนอื่นสามารถเลือกรับข้อความเหล่านี้ทางเว็บไซต์ทวิตเตอร์,อีเมล,เอสเอ็มเอส,เมสเซนเจอร์หรือผ่านโปรแกรมเฉพาะอย่าง Twitterific Twhirl ปัจจุบันทวิตเตอร์มีหมายเลขโทรศัพท์สำหรับส่งเอสเอ็มเอสในสามประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และสหราชอาณาจักร
ปัจจุบันประเทศไทยเองก็มีบริการลักษณะนี้เช่นกัน นั่นคือ Noknok และ Kapook OnAir เว็บไซต์แห่งหนึ่งถึงกับรวบรวมบริการแบบเดียวกับทวิตเตอร์ได้ถึง 111 แห่ง ตัวระบบซอฟต์แวร์ของทวิตเตอร์เดิมทีนั้นพัฒนาด้วย Ruby on Rails จนเมื่อราวสิ้นปี ปี 2008 จึงได้เปลี่ยนมาใช้ภาษา Scala บนแพลตฟอร์มจาวา จนกระทั่งปี 2009 ทวิตเตอร์ได้รับความนิยมสูงขึ้นอย่างมาก จนนิตยสารไทม์ ฉบับวันที่ 15 ปี 2009 ได้นำเอาทวิตเตอร์ขึ้นปก และเป็นเรื่องเด่นประจำฉบับ ภายในนิตตสารบทบรรณาธิการกล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงการนำเสนอข่าวที่มีที่มาจากเทคโนโลยีใหม่อย่างทวิตเตอร์ โดยทวิตเตอร์เป็นเว็บไซต์ที่ก่อตั้งขึ้นโดย แจ็ก คอร์ซีย์ บิซ สโตน และอีวาน วิลเลียมส์ เมื่อเดือนมีนาคม ปี 2006
Multiply (www.multiply.com)
มัลติพาย (multiply) เป็นเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบล็อก(Blog) หรือเว็บบล็อก (Weblog) เป็นเว็บไซต์สำหรับเขียนบันทึกเล่าเรื่องราวประจำวัน เพื่อสื่อสารความรู้สึกนึกคิด มุมมอง ประสบการณ์ ความรู้ และข่าวสาร ในเรื่องที่ผู้เขียน(Blogger) สนใจโดยเฉพาะ ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ทำให้บล็อกต่างกับเว็บบอร์ด และเนื่องจากความจริงใจ และอิสระทางความคิดที่สื่อสารออกไป ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในลักษณะของการบอกถึงความเป็นตัวตน ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี จึงทำให้บล็อก(Blog) เป็นสื่อที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันและนานาประเทศ
มัลติพายเป็น Blog บริการฟรีโดย Multiply สามารถจัดการ เรียบเรียงเรื่องราวใหมๆ ลงสูอินเทอรเน็ตได้ เราสามารถนํา Multiply มาทําเป็นลักษณะของไดอารี่ออนไลนไดโดยจะเปนการเขียนเรื่องเกี่ยวกับอะไรก็ได้ ไมมีขอบเขตจํากัด สามารถนํารูปภาพ วิดีโอ พร้อม ทั้งบันทึกผานออนไลนไดพรอมกันนั้นยังสามารถ Comment เรื่องราวต่างๆที่ผูเขียนเขียนขึ้นไดอีกด้วย รวมถึงมีสมุดเยี่ยมบนออนไลน์ให้ทุกๆ คนได้มีความสนุกสนานกับการเขาเยี่ยมชม
Flickr เป็นเว็บไซต์ที่มีต้นกำเนิดจากแคนาดาในปี 2004 ซึ่งบริษัท Ludicorp ที่สร้าง Flickr นี้เป็นบริษัทที่ทำเกมออนไลน์มาก่อน ในตอนแรกนั้นทางบริษัท จะเน้นไปที่ห้องแชตที่สามารถแชร์รูปให้กับคู่สนทนาได้ แต่ต่อมาได้รับความนิยมอย่างสูง จนกลายเป็นเว็บไซต์เพื่อการแชร์รูปที่มีผู้เข้าใช้งานจำนวนมาก จนทำให้ Yahoo หันมาสนใจธุรกิจนี้และนำเอากิจการของ Flickr มาปรับให้มีขนาดใหญ่และรองรับสมาชิกของ Yahoo เองด้วย ผู้ใช้งานWebmail ของ Yahoo ก็สามารถใช้ Username และ Password ที่ใช้กับเมลมาใช้กับ Flickr ได้ทันทีโดยไม่ต้องสมัครใหม่ ทำให้ผู้ใช้งาน Flickr ได้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว
การใช้งานของ Flickr นั้นทำได้อย่างง่ายดาย โดยการอัพโหลดรูปนั้นทำได้โดยเลือกรูปในคอมพิวเตอร์ของเราอัพโหลดขึ้น เว็บไซต์ทีละรูป นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถโหลดโปรแกรม Upload ที่เป็น Application สำหรับการใช้งานบน Windows เพื่อช่วยในการอัพโหลดภาพให้ง่ายมากขึ้น เหมาะกับการอัพโหลดคราวละมากๆ
ความสามารถในจัดเก็บรูปภาพมีมากขึ้นและสะดวกขึ้น ตัวอย่างเช่น
- สามารถทำการถ่ายข้อมูลรูปภาพจากกล้องดิจิตอลไปลงในคอมพิวเตอร์ได้)
- สามารถจัดเก็บรูปภาพตามหมวดหมู่ให้เลือกมากขึ้น แถมด้วยแผนที่เพิ่มเติมให้ทราบถึงแหล่งที่มาอีกด้วย
- แชร์รูปภาพกับเพื่อนหรือครอบครัวได้หรือสั่งการได้ตามต้องการหรืออาจแชร์สู่ที่สาธารณะ
- ให้อำนาจในการจัดการมากขึ้น เราสามารถอนุญาตให้เพื่อนหรือคนในครอบครัวของเราเข้ามาจัดตกแต่งหรือทำอะไรได้ตามที่เราต้องการ ภายใต้การควบคุมของเรา
- สามารถทำบล๊อกได้
- ถ่ายโอนภาพจากที่อื่น เข้าอัลบัม flickr เพื่อรวบรวมไว้ในที่เดียวได้
เว็บไซต์ Social Network ของเมืองไทยบ้านเรา กันดูบ้าง หากจะมองว่าเว็บไซต์ Social Network ในประเทศไทยจะมีเว็บไหนได้บ้าง ลองดูเว็บไซต์ ที่มีความชัดเจนในเนื้อหาเฉพาะด้าน อย่าง Social Network เรื่องของการท่องเที่ยว อย่างเว็บไซต์ odoza (โอโดซ่า) ที่ให้คนที่ชื่นชอบในเรื่องท่องเที่ยวได้มาทำความรู้จักกัน ได้มีพื้นที่ในการ share รูปภาพหรือวีดีโอคลิป ที่ตนเองได้ไปเก็บภาพหรือได้ไปเที่ยวมาแบ่งปันกัน หากใครเป็นผู้ที่รักการท่องเที่ยว อยากจะแบ่งปันข้อมูลรูปภาพแหล่งท่องเที่ยวหรือวิดีโอก็สามารถใช้บริการ Social Network ของไทยเว็บนี้กันได้
หลักการทำงานของ social networks
เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social metworks) ประกอบด้วย
1. Node หรือ หน่วยย่อย หรือ บุคคลทั่วไป เป็นสมาชิกคนหนึ่งของเครือข่าย ที่ต้องการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
2. Hub หรือ ผู้เป็นศูนย์กลางของ node มักทำหน้าที่เป็นผู้ รับ-ส่งข่าวสารต่างๆ จาก node ภายในกลุ่ม แล้วกระจายข่าวสารที่ได้รับมา ส่งต่อให้กับ บุคคลอื่น หรือ ระหว่างกลุ่ม ก็ได้ มักเป็นผู้ชอบศึกษาเรียนรู้ ตลอดเวลา มีมนุษยสัมพันธ์ดี เป็นที่ไว้วางใจ น่าเชื่อถือ
คนที่ทำตัวเป็น Hub นั้น เมื่อ ทำหน้าที่ได้ดี เป็นที่ไว้วางใจจากบุคคลทั่วไป ในกลุ่ม ก็จะกลายเป็นผู้เชื่อมต่อ (Connector) ไปด้วย เป็นนักประสานผลประโยชน์ นอกจากนี้ยังเป็นนักขาย ได้อีกด้วย
การขยายตัวของเครือข่ายทางสังคมได้อย่างมากมาย และรวดเร็วนั้น มาจาก
1.) words of mouth ปากต่อปาก ดึงกันเข้ามาในเครือข่าย กลุ่มเพื่อนกัน สถาบันเดียวกัน ที่ทำงานเดียวกัน รุ่นเดียวกัน เป็นต้น
2.) การใช้โปรแกรมซอร์ฟแวร์อัตโนมัติ เมื่อ เพื่อนเราคนหนึ่งเกิดเป็นสมาชิกในเครือข่ายทางสังคม แล้ว เจ้าโปรแกรมที่ว่านี้ จะคัดลอก(เอง) รายชื่อที่อยู่ในคอมพิวเตอร์(contact list) ของเพื่อนเรา ซึ่งจะมีอีเมลเรา และ คนอื่นๆ แล้วกระจายมาให้เรา และคนอื่นๆ เพื่อชักชวนให้สมัครเป็นสมาชิก (เหมือนเพื่อนเรา) อันนี้เป็นกลยุทธที่แยบยลมากๆ ทำให้เครือข่ายขยายได้ไม่มีที่สิ้นสุด และรวดเร็ว
ประโยชน์ของ Social network
1.) เราสามารถใช้เว็บเหล่านี้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารข้อความต่างๆ ไม่ว่าของตนเองหรือขององค์กรออกไปยังคนกลุ่มหนึ่ง โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาดแต่อย่างใด บางคนก็เรียกเป็นกลยุทธ์ปากต่อปาก หรือ Viral Marketing ที่เมื่อเราโพสต์ข้อความบางประการลงไปในเว็บสังคมออนไลน์เหล่านี้ คนจำนวนมากที่เป็น "เพื่อน" ของเราหรือติดตามเราอยู่ ก็จะได้รับข้อมูลเหล่านั้น
2.) เป็นสื่อในการส่งข้อความแล้ว เรายังสามารถใช้เว็บสังคมออนไลน์เป็นที่ที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเกี่ยวกับองค์กรที่เราทำงาน เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่เราใช้ หรือเกี่ยวกับการเมือง ดังนั้น ถ้าใช้ให้ดีๆ แล้วสังคมออนไลน์เหล่านี้ จะกลายเป็นช่องทางในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสินค้าและบริการต่างๆ
3.) สามารถใช้เว็บเหล่านี้เป็นกลไกในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข่าวสารดีๆ เกี่ยวกับองค์กรของตนเองไปยังบุคคลต่างๆ รอบๆ ตัวเรา เช่น เวลาหลักสูตรที่ดูแลจะรับสมัครนิสิตรุ่นใหม่ ก็จะใช้ FB เป็นกลไกในการประกาศรับสมัครนิสิต หรืออย่างที่คณะบัญชี จุฬาฯ จะจัดสัมมนา Management Cockpit ในวันพฤหัสที่จะถึงนี้ ผมก็ไปปล่อยข่าวไว้ทั้งใน FB และ Twitter ของตนเอง
4.) บางองค์กรยังใช้ FB และ Twitter เป็นเครื่องมือในการตอบคำถาม หรือข้อข้องใจของลูกค้าเกี่ยวกับข้อร้องเรียนเกี่ยวกับสินค้าและบริการต่างๆ โดยจะมีพนักงานคนหนึ่งทำหน้าที่ในการติดตามข่าวสารหรือข้อร้องเรียนต่างๆ ที่ปรากฏใน FB และ Twitter และทำหน้าที่ในการชี้แจงข้อมูล ข้อเท็จจริงต่างๆ รวมทั้งตอบคำถามที่ปรากฏอยู่ในเว็บสังคมออนไลน์เหล่านี้
ปัจจุบันในเมืองไทยนั้น Twitter กำลังเป็นที่นิยมกันในระดับหนึ่ง (และเริ่มมากขึ้นหลังกลายเป็นสมรภูมิระหว่างผู้นำประเทศในปัจจุบันและอดีตผู้นำประเทศ) แต่ที่กำลังฮิตๆ กันมากก็หนีไม่พ้น Facebook ที่ในอดีตเว็บในลักษณะนี้ เป็นแหล่งชุมนุมของวัยรุ่น (Hi 5 เป็นต้น) แต่พอมาเป็น Facebook แล้วปรากฏว่ากลุ่มที่ไม่ใช่วัยรุ่นจะหันมาใช้และเล่นกันมากขึ้น มีงานวิจัยในอังกฤษที่ชี้ให้เห็นว่าวัยรุ่นในอังกฤษได้เริ่มลดความสนใจในเว็บ Social Networking ลงไป เหมือนกับว่าเว็บ Social Networking เหล่านี้ เริ่มถึงจุดอิ่มตัวสำหรับวัยรุ่น แต่ถ้าเป็นวัยผู้ใหญ่ กลับตอบรับต่อ Facebook ด้วยดี ซึ่งก็คล้ายๆ ในไทยที่ปัจจุบันเห็นวัยผู้ใหญ่หันมาเล่น และใช้ Facebook กันมากขึ้น
อย่างไรก็ดี เราคงต้องหาทางใช้เว็บเหล่านี้ให้เป็นประโยชน์บ้าง ไม่ใช่เป็นสถานที่บ่น ระบายอารมณ์ หรือเป็นที่หยอดคำหวานๆ ของชายหนุ่ม
ที่มา : http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2009q3/2009august11p3.htm
เพื่อให้เข้าใจ Social network มากขึ้นเรามีวิดีโอมาให้ชมกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น